วันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกครั้งที่ 4

บันทึกครั้งที่ 4
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองานที่มอบหมายไว้เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว

กลุ่มที่ 1 การนับ

การนับจะเป็นไปตามขั้นของพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย และเด็กปฐมวัยจะไม่มีการเรียนตัวเลขไทย

กลุ่มที่ การวัด
                                       การวัด (Measurement)          ความสามารถในการวัดของเด็ก จะพัฒนาจากประสบการณ์ในการจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบและการจัดลำดับ ในขณะที่เด็กเปรียบเทียบน้ำหนักของสิ่งของ หาว่าสิ่งใดยาวที่สุด จะเป็นเวลาที่เด็กใช้มโนทัศน์ในการวัด     การวัดจะช่วยให้เด็กเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง ตำแหน่ง ทิศทาง รวมทั้งการคาดคะเน และการกะประมาณ การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทางความยาว น้ำหนัก ปริมาณ เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้แค่ว่า สิ่งใดสูง สิ่งใดต่ำ  สิ่งใดมีน้ำหนักเบา สิ่งใดมีน้ำหนักที่หนัก และ วันเวลา เช่น ตอนเช้า ตอนเที่ยง ตอนเย็น เป็นต้น



กลุ่มที่ 3 เรขาคณิต
                              เพื่อนๆนำเสนอในรูปแบบการปฎิบัติให้เพื่อนๆในกลุ่มทำรูปทรงเรขาคณิตต่างๆด้วยส่วนต่างๆของร่างการ และใช้คำถามปลายเปิด เช่น เด็กๆเคยเห็นอะไรบ้างที่มีรุปทรงกล้ายกับ วงกลม เป็นต้น



กลุ่มที่ 4 พีชคณิต
คือการแทนค่าตัวเลขด้วยสัญลักษณ์ เช่น
X+Y=A 
XY=A
X/Y=A  หรือ การวาดรูปเรขาคณิตเรียงกัน 3รูปแล้วเหลือช่องสำหรับให้เด็กเด็กเติมรูปเรขาคณิตรูปต่อไป เป็นต้น
กลุ่มที่ 5 ความน่าจะเป็น
                              ใช้ลูกปิงปองมาสาธิตความน่าจะเป็น โดยเอาลูกปิงปองใส่ในแก้วแล้วจะให้เด็กคิดถึงความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้น

บันทึกครั้งที่ 3

บันทึกครั้งที่ 3
อาจารย์สอนเทคนิคในการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.         ดูวิธีการคิดของเด็กเป็นสำคัญ
2.         มโนภาพ คือ สื่ออื่นที่สามารถนำมาแทนค่าของตัวเลข
3.         คำนึงถึงขันพัฒนาการของเด็กว่าเด็กสามารถเรียนรู้ได้มาน้อยเท่าใด
4.         ครูไม่ใช่ผู้ที่จะเฉลยคำตอบแต่เพีบงอย่างเดียวแต่ครูต้องให้เด็กได้สือเสาะหาคำตอบด้วยตัวของเด็กเอง แล้วจึงค่อบเฉลยคำตอบ
ท้ายคาบเรียนอาจารย์ให้ทำสื่อเกี่ยวกับตัวเลขที่มีดอกไม้เป็นตัวแทนของเลขแต่ละตัว  เช่น เลข 3 มีกลีบดอกไม้ 3 กลีบเป็นต้นสื่อชนิดนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กได้อาจจะดัดแปลงเป็นสิ่งอื่นตามความสนใจของเด็กและตามสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำอวยต่อการเรียนรู้                                                                   
  บรรยากาศภายในห้องเรียนและเทคนิคการสอน

วิดิโอ……การสอน
ผลงานท้ายคาบเรียน






วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

บันทึกครั้งที่ 2


บันทึกครั้งที่ 2
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 12 คน สี่กลุ่ม และ 13 คน หนึ่งกลุ่มโดยส่งตัวแทนไปจับฉลากกลุ่มละ 1 คนโดยกลุ่มของข้าพเจ้าได้ทักษทางคณิตศาสตร์ในหัวข้องเรื่อง การวัด ในการนำเสนอครั้งนี้ไม่ต้องมีรายงานเป็นรูปเล่ม
มาตราฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
คณิตศาสตร์หมายถึง
ระบบการคิดของมนุษย์ใช้ในการศึกษาอธิบายความสำคัญของสิ่งต่างๆในเชิงปริมาณ โดยการใช้สัญลักษณ์ การพูด การเขียนซึ่งต้องใช้ความคิดที่เป็นระเบียบ มีเหตุผล และความคิดสร้างสรรค์
ความสำคัญ
1.       เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน
2.       แก้ไขปัญหาโดยเฉพาะหลักการทางคณิตศาสตร์
3.       ข้อมูลที่สำคัญในการตรวจสอบข้อมูล วางแผนงานเละประเมินผล
4.       เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้วิชาต่างๆโดยเพฉาะวิทยาศาสตรืและเทคโนโลยี
ทฤษฎี
Piaget
1.       ขั้นประสาทสัมผัส 0-2 ปี
-การสัมผัส
-การจดจำและบอกสิ่งต่างๆของลักษณะที่เกี่ยวข้องกับวัตถุได้
      2.  ขั้นเตรียมการทางความคิดที่มีเหตุผล 2-7ปี
- ใช้ภาษาพูดและเสดงความรู้ ความคิด
-เริ่มรู้จักที่จะบอกขนาดน้ำหนักรูปทรงและความยาว
- เล่นบทบาทสมมุติมากขึ้น เช่น จำนวน ตัวเลข อักษร ค่าที่มีความหมาย
- ให้ความสำคัญกับสิ่งที่สังเกตและรับรู้ได้ชัดเจนที่สุด
- ไม่สามารถคงความคิดตามสภาพเดิมไว้ได้ เมื่อสภาพทางกายภาพทำให้เด็กไม่สามารถไม่สามารถสั่งสมความคิดไว้ได้


พัฒนาการอนุรักษ์

เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้ดังนี้
1.       การนับ
2.       การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
3.       การเปรียบเทียบรูปสมมาตร
4.       การเรียงลำดับ
5.       การจัดกลุ่ม
หลักการ
1.       เปิดโอกาสให้เด็กได้พูดคุย ได้อธิบาย ได้สำรวจ ความสำพันธ์แบบต่างๆทางคณิตศาสตร์ผ่านวัตถุและอุปกรณ์
2.       ผสามสารคณิตศาสตร์กับการเล่นและกิจกรรมที่ใช้คำถามปลายเปิด
3.       เชื่อมโยงการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ท้ายคาบเรียน อาจารย์ให้ทำกิจกรรม ดังรูปจ้า……….






บันทึกครั้งที่ 1


                                                                         บันทึกครั้งที่ 1


                           ข้าพเจ้าไม่ได้มาเรียน แต่ได้ศึกษางานจากเพื่อนได้ ผลงานดังรูปด้านล่าง